Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรชร มณีสงฆ์-
dc.contributor.authorปาริฉัตร ชมภูรัตน์en_US
dc.date.accessioned2017-12-18T06:37:20Z-
dc.date.available2017-12-18T06:37:20Z-
dc.date.issued2557-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43387-
dc.description.abstractThis study aimed to explore behavior of women in Mueang Chiang Mai district in using environmental-friendly fabric bags. Samples were specified to 200 female fabric bag users. Questionnaires were used as the tool to collect data. Then, the data obtained were analyzed by the descriptive statistics, consisting of frequency, percentage and mean. The findings presented that most respondents were 20-29 years old with Bachelor’s degree, worked as private company officer and earned monthly income (regular and extra incomes) at less than 15,000 Baht. The results of the study on behavior of women in Mueang Chiang Mai district in using environmental-friendly fabric bags suggested that advantages of the environmental-friendly fabric bags that the respondents paid the highest level concern on were the ease of use which was portable and usable in any occasions and the reduction of global warming since it was durable and reusable many more times than the plastic bags. The environmental-friendly fabric bags that they mostly used were giveaway product. Type of fabric bags that they usually used was the document/book bag (medium size). They used it for carrying documents/files. Person influencing their decision in using the environmental-friendly fabric bag was referred to the respondents themselves. Frequency in using the fabric bag was found in daily use. They currently owned 2 fabric bags. Most of them bought the fabric bag by themselves at longer than a month ago. The frequency in buying the environmental-friendly fabric bag was at once in 6 months. In each purchasing time, they spent less than or equal to 100 Baht for a bag. Place where they bought the environmental-friendly fabric bag was at the Walking Street. Source of information where they learned about the fabric bag’s shops was from their exploration. The results of the study on marking mix factors presented that the following factors affected the use of environmental-friendly fabric bags among the respondents at high level: price, product, place and promotion, in orderly. Hereafter were shown top 10 sub-factors affecting the use of environmental-friendly fabric bags: 1) being more practicable than plastic bags, 2) being appropriate size to use and reasonable price to quality, 3) having wide-range of prices, 4) being durable, 5) product safety, 6) having alternative sizes, 7) having various designs and patterns, 8) cheap price, 9) having clear price-tag, and 10) product beauty. Based upon the sustainable consumption concept, the findings suggested that most respondents agreed with the socio-economic behavior that companies should promote the use of alternative energies in the community and it should have product innovation and employment in the community. In environmental aspect, they agreed with environmental concerned projects such as water and energy conservation, recycle, and pollution reduction. In personnel and environment aspect, they agreed with the statement saying that human were destroying the restricted environment and themselves, thus they should lessen this behavior by using environmental-friendly products and package.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.subjectสตรีen_US
dc.subjectถุงผ้าen_US
dc.subjectสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleพฤติกรรมของสตรีในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.title.alternativeBehavior of woman in Mueang Chiang Mai District in using environmental-friendly fabric bagsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashถุงผ้า-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 ป273พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของสตรีในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้สตรีที่ใช้ผลิตภัณฑ์ถุงผ้าในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 200 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 20-29 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน (รายได้ประจำ และรายได้เสริม) ไม่เกิน 15,000 บาท ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมของสตรีในอำเภอเมืองเชียงใหม่พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับข้อดีของถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุดคือ สะดวกในการใช้งาน พกพาติดตัวได้ พร้อมใช้งานได้ทุกโอกาส รองลงมาช่วยลดปัญหาโลกร้อน ทนทานและใช้ซ้ำได้มากครั้งกว่า ถุงพลาสติก ส่วนใหญ่ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เลือกใช้ คือ ได้รับแจกมา ประเภทของถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เคยใช้เป็นประจำคือถุงผ้าสำหรับใส่เอกสาร/หนังสือ (ขนาดกลาง) โดยโอกาสในการใช้ถุงผ้าคือ ใช้ใส่เอกสาร/แฟ้มงาน ผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจในการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมคือตัดสินใจด้วยตนเอง ความถี่ในการใช้ใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมคือ ทุกวัน จำนวนถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในปัจจุบัน 2 ถุง ส่วนใหญ่เคยซื้อถุงผ้าใช้เอง และเคยซื้อถุงผ้านานกว่า 1 เดือนที่ผ่านมา โดยมีความถี่ในการซื้อถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมคือ 6 เดือนครั้ง ค่าใช้จ่ายต่อครั้งในการซื้อถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 บาท โดยสถานที่ที่เลือกซื้อถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมคือ ถนนคนเดิน สำหรับการทราบแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมคือ เดินไปเจอแล้วซื้อ ผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาด ผู้ตอบแบบสอบถามให้ระดับที่มีผลต่อการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมในระดับมากเรียงลำดับคือ ด้านราคา รองลงมาด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด สำหรับปัจจัยย่อย 10 ลำดับแรกที่มีผลต่อการใช้ถุงผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ 1) ใช้งานได้ดีกว่าถุงพลาสติก 2) ความเหมาะสมของขนาดกับการใช้งาน และราคาเหมาะสมกับคุณภาพ 3) มีหลายระดับราคาให้เลือก 4) ความคงทนของผลิตภัณฑ์ 5) ความปลอดภัยในการใช้งาน 6) มีให้เลือกหลายขนาด 7) มีหลายรูปแบบการดีไซน์ การตกแต่งลวดลายให้เลือก 8) ราคาถูก 9) มีป้ายแสดงราคาไว้อย่างชัดเจน 10) ความสวยงามของผลิตภัณฑ์ ข้อค้นพบด้านแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอย่างยั่งยืน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเห็นด้วยกับพฤติกรรมด้านเศรษฐกิจสังคมในแง่บริษัทต่างๆ ควรใช้พลังงานทดแทนในชุมชน มีนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และจ้างงานจากชุมชน ด้านสิ่งแวดล้อมเช่น โครงการอนุรักษ์น้ำและพลังงาน รีไซเคิลและลดมลพิษ ด้านบุคคลกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มนุษย์กำลังทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างที่มีจำกัด และตัวเอง ควรมีส่วนลดโดยใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตแบบเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)181.54 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract233.21 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.