Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73785
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThanachai Pankasemsuk-
dc.contributor.advisorKanda Whangchai-
dc.contributor.advisorWibul Changrue-
dc.contributor.authorSuttinee Likhittragulrungen_US
dc.date.accessioned2022-08-06T10:29:05Z-
dc.date.available2022-08-06T10:29:05Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73785-
dc.description.abstractThis study was aimed to find out the suitable methods to substitute sulfur dioxide (SO2) fumigation and the methods to reduce SO2 residue in exported longan fruit. The experiments were done at the laboratories of Office of Agricultural Research and Development region 1 (OARD1), Chiang Mai province and Postharvest Innovation Center, Chiang Mai University during 2016-2020. The experiment 1 was studies the effects of hydrochloric acid (HCl), sodium chlorite (NaClO2), sodium chloride (NaCl) and Sulfur dioxide (SO2) fumigation (commercial method) on fruit browning. Longan fruit were packed in 3 kilograms and then dipped into various treatment solutions of HCl mixed with NaClO2 for 5 minutes. After that, the treated fruit were stored for 14 days, at 5oC 85% RH for 7 days (the same condition as transportation method for exporting longan) and then stored at room temperature (25oC) for another 7 days. They were found that ClO2 1.5% and HCl 6.4% + NaCl 1% treatments could prevent fruit browning for 14 days which were equaled to the commercial method, SO2 fumigation. While the study of methods to reduce SO2 use by ozone (O3) fumigation for 60 and 120 minutes prior to SO2 fumigation at 3 levels concentrations (0.6, 0.9 and 1.2%). They were found that O3 fumigation 120 minutes before SO2 fumigation with a concentration of 0.9 and 1.2% could prevent pericarp browning for 14 days compared with SO2 fumigation commercial was 11 days. Experiments 2 was aimed to prolong shelf life of longan fruit and residue of ClO2 and SO2 after storage at 5oC 85% RH. They were founded that ClO2 1.0, 1.25, and 1.5% for 5 min. could extended shelf life for 28 days compared to the commercial method (SO2 fumigation) and untreated fruit which had 21 and 7 days of shelf life respectively. The ClO2 residue in the aril was less than the pericarp. However, the residue of all ClO2 treatments were less than 3 mg/kg. The study of reducing SO2 by O3 fumigation. They found that O3 120 min. prior to SO2 1.2% could extend shelf life of 28 days compared with commercial SO2 fumigation was 21 days. SO2 residue in the aril of all SO2 treatments were lower than 50 mg/kg. Experiment 3 was aimed to study the effects of ClO2 and SO2 on some biochemical changes of aril and pericarp of longan fruit. They were founded that ClO2 and SO2 treatments could reduce Polyphenol oxidase (PPO) and Peroxidase (POD) activities but the total phenolic content in pericarps were increased by storage time. The pH of pericarp of ClO2 treated fruit were lower than the SO2 fumigation and untreated treatments. Total anthocyanin contents in the pericarp in all treatments were varied between 0.00-646.02 mg/kg. The anthocyanin was not found in the abnormal aril, pinked aril but 1,2-benzoquinone, 6-deoxfagomine, L-phenylalnine, L-isoleucyl-proline and pyrrolidone-5-carboxylic acid were founded. There were 31 volatile compounds founded which (E)-3-7-dimethylocta-1,3,6-triene or β-ocimene was the most founded volatiles in all treatments.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEffects of Chlorine Dioxide from Hydrochloric Acid Mixed with Sodium Chlorite and Ozone Prior to Sulfur Dioxide Fumigation on Color of Longan Fruit Pericarp Browningen_US
dc.title.alternativeผลของคลอรีนไดออกไซด์จากการผสมกรดเกลือกับโซเดียมคลอไรต์ และการรมด้วยโอโซนก่อนซัลเฟอร์ไดออกไซด์ต่อสีของเปลือกลำไยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashLongan-
thailis.controlvocab.thashChlorine compounds-
thailis.controlvocab.thashHydrochloric acid-
thailis.controlvocab.thashSodium hypochlorite-
thailis.controlvocab.thashSulfur dioxide-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบหารูปแบบของวิธีการที่มีความเป็นไปได้ในการใช้ทดแทนการใช้สารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และวิธีการที่สามารถใช้ลดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างในลำไยส่งออก ดำเนินการทดสอบที่ห้องปฏิบัติการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 (สวพ. 1) จังหวัดเชียงใหม่ และศูนย์นวัตกรรมหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปี 2559 – 2563 การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของกรดเกลือ (HCl), โซเดียมคลอไรต์ (NaClO2), โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) และการรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (วิธีทางการค้า) ต่อการลดการเปลี่ยนสีนํ้าตาลของผล โดยการแช่ลำไยที่บรรจุในตะกร้าพลาสติกความจุ 3 กิโลกรัม ในสารละลายที่ผสมกรดเกลือกับโซเดียมคลอไรต์ นาน 5 นาที และเก็บรักษานาน 14 วัน โดยจำลองสภาพการขนส่ง เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5oC ความชื้นสัมพัทธ์ 85% นาน 7 วัน และย้ายมาวางจำหน่ายที่อุณหภูมิห้อง (25oC) เป็นเวลา 7 วัน พบว่าการแช่ในคลอรีนไดออกไซด์ (ClO2) 1.5% และ HCl 6.4% ลดการเปลี่ยนสีนํ้าตาลได้นาน 14 วัน เท่ากับวิธีการรม SO2 ทางการค้า ขณะที่การศึกษาวิธีการลดการใช้สาร SO2 ด้วยการรมก๊าซโอโซน (O3) นาน 60 และ 120 นาที ก่อนรมด้วย SO2 ที่ความเข้มข้น 3 ระดับ 0.6%, 0.9% และ 1.2% โดยเก็บรักษาในสภาพเดียวกัน นาน 14 วัน พบว่าการรมก๊าซ O3 นาน 120 นาที ก่อนรมด้วย SO2 เข้มข้น 0.9% และ 1.2% ลดการเปลี่ยนสีนํ้าตาลได้นาน 14 วัน เมื่อเปรียบเทียบกับ SO2 ทางการค้าที่สามารถลดการเกิดสีนํ้าตาลได้นาน 11 วัน การทดลองที่ 2 ศึกษาผลของ ClO2 และ SO2 ต่อการตกค้างของสารในผลและการยืดอายุการเก็บรักษาระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 oC ความชื้นสัมพัทธ์ 85% นาน 42 วัน พบว่าการแช่ลำไยใน ClO2 เข้มข้น 1.0, 1.25 และ 1.5% นาน 5 นาที ยืดอายุการเก็บรักษาได้นานที่สุด 28 วัน เปรียบเทียบวิธีทางการค้า SO2 และลำไยไม่แช่สาร มีอายุการเก็บรักษานาน 21 และ 7 วัน ตามลำดับ การวิเคราะห์สารตกค้างพบว่า ClO2 ตกค้างในเนื้อผลตํ่า ส่วนในเปลือกสูงกว่าเล็กน้อย แต่ไม่เกิน 3mg/kg ขณะที่การศึกษาวิธีการลดการใช้สาร SO2 พบว่า กรรมวิธีการรม O3 120 นาที ก่อนรม SO2 1.2% ช่วยยืดอายุเก็บรักษาได้นาน 28 วัน เปรียบเทียบกับกรรมวิธีการรม SO2 ทางการค้า มีอายุการเก็บรักษาได้นาน 21 วัน และการตกค้างของ SO2 ในเนื้อตํ่าไม่เกิน 50 mg/kg ตลอดอายุการเก็บรักษา การทดลองที่ 3 ศึกษาผลของ ClO2 และ SO2 ต่อการเปลี่ยนแปลงของเอนไซม์ของเนื้อและ เปลือกลำไย พบว่า กรรมวิธีการแช่ ClO2 และการรม SO2 มีแนวโน้มกิจกรรมของ Polyphenol oxidase (PPO) และ Peroxidase (POD) ลดลงและ Total phenolic content สูงเมื่อเก็บรักษานานขึ้น pH เปลือกของการแช่ ClO2 1.5% มีค่าตํ่ากว่า SO2 และ ผลลำไยไม่แช่สารอย่างมีนัยสำคัญ ปริมาณ Total anthocyanin ทุกกรรมวิธี ในส่วนเปลือกผลมีค่าไม่สมํ่าเสมอซึ่งมีค่าระหว่าง 0.00-646.02 mg/kg และพบปริมาณน้อยมากในเนื้อ เมื่อวิเคราะห์หาชนิดสารจากตัวอย่างเนื้อลำไยที่มีสีผิดปกติคือมีสีชมพู สารที่พบ ได้แก่ 1,2-Benzoquinone, 6-deoxyfagomine, L-phenylalanine, L-isoleucyl-proline และ pyrrolidone-5-carboxylic-acid เป็นต้น การวิเคราะห์สารระเหย (Volatile compounds) พบสารทั้งหมด 31 ชนิด และสารที่มีปริมาณมากที่สุด คือ (E)-3,7-dimethylocta-1,3,6-triene หรือ β-ocimene ซึ่งพบได้ในทุกกรรมวิธีen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.