Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChirawan Chaisuwan-
dc.contributor.advisorPaul G. Patterson-
dc.contributor.advisorNarumon Kimpakorn-
dc.contributor.authorAdisorn Chaysangen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T04:32:19Z-
dc.date.available2022-10-15T04:32:19Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74190-
dc.description.abstractThis dissertation comprises of two empirical studies, a qualitative and a quantitative study. The completed study introduces a comprehensive psychological pathway model on customer acceptance of frontline service robot (FSR) drawn from role theory and the theory of consumption value and incorporates three main dimensions of FSR acceptance (functional, social-emotional, and relational dimensions). Moreover, the studies examined three mediators (utilitarian value, hedonic value, and psychological comfort) and the boundary effects of two moderators (self-efficacy and technology anxiety) on the FSR acceptance model. A mixed method research design was used for this thesis. The study was conducted in two phases. Phase 1, the qualitative study (in-depth interview) confirmed the variables delineated from the literature as well as explored any additional insights on customer acceptance of frontline service robots by collecting data from 32 participants who interacted with frontline service robot in a real-world business setting (retail customers of a telecommunications company). The qualitative results unveiled psychological comfort and individual characteristics (self-efficacy and technology anxiety) associated with the FSR acceptance. Phase 2 was a quantitative study (cross-sectional survey) with a sample of 388 customers immediately following their instore interaction with an FSR. The main objective of the second phase was to quantitatively investigate the factors impacting customer acceptance and examine the moderating role of heterogeneity factors on customer acceptance in a retail customer service context. The quantitative results showed that the most important mediating factor associated with FSR acceptance is utilitarian value, followed by psychological comfort and hedonic value, respectively. Furthermore, the functional dimension of perceived usefulness plays a vital role in predicting utilitarian value. Besides, the social presence has the highest positive significant impact on hedonic value followed by perceived humanness. The functional dimension, which is perceived autonomy, plays a vital role in predicting psychological comfort in the current study, followed by the social and emotional dimension, perceived humanness, and perceived usefulness, respectively. The moderating effect results of self-efficacy indicated that under the condition of higher self-efficacy, the functional factor (i.e., perceived usefulness) has a stronger association with utilitarian value. Moreover, the moderating effect results of technology anxiety indicated that under the condition of higher technology anxiety, the functional factor (i.e., perceive usefulness) has a weaker association with utilitarian value. The findings suggest that under the condition of higher technology anxiety, social-emotional factors (i.e., social presence) has a weaker association with hedonic value.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectFrontline Service Roboten_US
dc.subjectRobot Acceptanceen_US
dc.titleFactors affecting customer acceptance of frontline service robot in a retail contexten_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อลูกค้าในการยอมรับหุ่นยนต์บริการส่วนหน้าในบริบทการค้าปลีกen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashRobots-
thailis.controlvocab.thashHuman-robot interaction-
thailis.controlvocab.thashRetail trade-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฎีนิพนธ์นี้ประกอบด้วยการศึกษาเชิงประจักษ์ 2 สองการศึกษา ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อนำเสนอแบบจำลองทางจิตวิทยาเกี่ยวกับการยอมรับหุ่นยนต์บริการของลูกค้าภายใต้แนวคิดของทฤษฎีบทบาทและทฤษฎีคุณค่าผู้บริโภค โดยแบบจำลองการยอมรับหุ่นยนต์บริการประกอบด้วย 3 มิติหลักคือ มิติการปฏิบัติงาน มิติสังคมและอารมณ์ และมิติความสัมพัมธ์ นอกจากนี้ยังมีการทดสอบตัวแปรส่งผ่าน 3 ตัวแปร ได้แก่ คุณค่าด้านอรรถประโยชน์ คุณค่าด้านสุนทรียรส และความสะดวกใจทางจิตวิทยา และยังทดสอบตัวแปรแทรก 2 ตัวแปร ได้แก่ ความสามารถของตนเองและความวิตกกังวลต่อเทคโนโลยี งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อยืนยันตัวแปรที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและเพื่อสำรวจข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวกับการยอมรับหุ่นยนต์บริการของลูกค้า โดยเก็บข้อมูลจากลูกค้าที่เข้ารับบริการกับหุ่นยนต์บริการในสถานการณ์จริงในธุรกิจให้บริการโทรคมนาคม จำนวน 32 คน ผลการศึกษาทำให้ค้นพบตัวแปรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับหุ่นยนต์บริการของลูกค้า ได้แก่ ตัวแปรความสะดวกใจทางจิตวิทยาและตัวแปรลักษณะเฉพาะบุคคล ประกอบด้วย ความสามารถของตนเองและความวิตกกังวลต่อเทคโนโลยี   ระยะที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบกับลูกค้าที่เข้ารับบริการกับหุ่นยนต์บริการในสถานการณ์จริง จำนวน 388 คน มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาเชิงปริมาณเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อลูกค้าในการยอมรับหุ่นยนต์บริการ และทดสอบบทบาทของตัวแปรแทรกด้านลักษณะเฉพาะบุคคล ต่อการยอมรับหุ่นยนต์บริการของลูกค้าในบริบทการให้บริการลูกค้าค้าปลีก ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่สำคัญที่สุดต่อการยอมรับหุ่นยนต์บริการของลูกค้าคือ คุณค่าด้าอรรถประโยชน์ รองลงมาคือปัจจัยด้านความสะดวกใจทางจิตวิทยา และคุณค่าด้านสุนทรียรส ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า มิติด้านการปฏิบัตงาน ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของหุ่นยนต์บริการส่งผลมากที่สุดต่อการรับรู้คุณค่าด้านอรรถประโยชน์ และพบว่าปัจจัยการแสดงตัวตนทางสังคมส่งผลเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อการรับรู้คุณค่าด้านสุนทรียรสมากที่สุด ตามด้วยปัจจัยด้านคล้ายมนุษย์ ในอีกด้านหนึ่งยังพบว่า มิติด้านการปฏิบัตงาน ได้แก่ ปัจจัยด้านความสามารถในการความคุมหุ่นยนต์ส่งผลต่อความสะดวกใจทางจิตวิทยาของลูกค้ามากที่สุด ตามด้วยปัจจัยด้านความคล้ายมนุษย์และปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ของหุ่นยนต์บริการตามลำดับ การทดสอบอิทธิพลของตัวแปรแทรก พบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองที่สูงขึ้นส่งผลให้ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ของหุ่นยนต์บริการและการรับรู้ด้านอรรถประโยชน์สูงขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ยังพบว่า ความวิตกกังวลต่อเทคโนโลยีของลูกค้าที่สูงขึ้นส่งผลต่อความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของหุ่นยนต์บริการกับการรับรู้ด้านอรรถประโยชน์ต่ำลง และนอกจากนี้ความวิตกกังวลต่อเทคโนโลยีที่สูงขึ้นส่งผลต่อความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านสังคมและอารมณ์ ได้แก่ การแสดงตัวตนทางสังคมกับการรับรู้คุณค่าด้านสุนทรียรสต่ำลงen_US
Appears in Collections:BA: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601551005-ADISORN CHAYSANG.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.