Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78829
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Saisamorn Lumyong | - |
dc.contributor.advisor | Kevin David Hyde | - |
dc.contributor.advisor | Boonsom Bussaban | - |
dc.contributor.author | De Silva Nimali Indeewari | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T15:27:24Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T15:27:24Z | - |
dc.date.issued | 2022-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78829 | - |
dc.description.abstract | Fungi are a hyper-diverse and heterogeneous group of microorganisms. They are an essential component of most ecosystems are as they are the major contributors to nutrient cycling, and the main organisms which can degrade lignocellulose in wood and leaves. In a fungal taxonomic context, accurate identification of fungal life-styles gives insight to the nutritional and ecological significance of a particular fungus. This study has documented and provided updated definitions for fungal life-styles including biotrophs, hemibiotrophs, necrotrophs, saprotrophs and endophytes. Fungal endophytes of symbionts in natural flora and inhabit living plant tissues. These mycobionts may ecologically benefit their host plants by increasing drought and disease resistance and enhancing growth. Isolation of endophytes were carried out based on cultural procedures through different in vitro techniques. Identification of endophytes were carried out based on morphology of fungi sporulating on artificial media and multi-gene phylogenies of DNA sequence data. The current study focused on taxonomic novelties and new host or geographical records of endophytic fungi associated with Magnolia liliifera collected from Yunnan Province, China and M. garrettii from Chiang Mai Province, Thailand. Magnolia species are economically important and used in furniture, ornamental plants in gardens, temple trees, flowers for decorations and valuable medicine in China. We obtained 56 endophytic isolates from Magnolia species, of which 54 belong to ascomycetes and two to basidiomycetes. The 56 isolates were identified in 31 taxa including eight new species and 23 new host and or geographical records. The results indicate that members of Sordariomycetes are dominant groups of endophytic fungi in M. liliifera and M. garretti. Considering the total endophytic isolates from M. lilifera and M. garretti, Sordariomycetes comprises the highest number of isolates with 82%, followed Dothideomycetes with 14% and Agaricomycetes with 4%. We also investigated and documented saprobic microfungi on dead twigs from different plant hosts from Annonaceae (Anomianthus dulcis, Cananga odorata, Desmos chinensis), Apocynaceae (Alstonia scholaris) and Magnoliaceae (M. champaca, M. garrettii, M. lilifera) in northern Thailand and Yunnan Province, China. We provide descriptions, illustrations and discussions on their familial placement based on phylogeny and morphological data. In this study we introduce a new genus Muriformispora in Neohendersoniaceae (Dothideomycetes). We also introduce 15 new species including,eight new species from Magnolia plants, four new species from A. dulcis, two new species from C. odorata and one new species from Al. scholaris. We provide an amended account of Hermatomyces to include the sexual morph. Additionally, we report 32 new host records from Magnolia sp., A. dulcis, C. odorata, D. chinensis and Al. scholaris. Plant-fungal interactions are highly diverse and complex. Fungi are able to acquire different survival strategies with different life-styles as saprotrophs, endophytes, and pathogens. In most instances, fungi maintain a continuum from biotrophy, through to necrotrophy and/or saprotrophy in nature. It is considered that endophytes can switch their nutritional mode (from saprotrophic to parasitic or vice versa) or/and life-styles (soil, fungi and decaying and living plants). We introduce Diaporthe chiangmaiensis sp. nov. which was recovered as a saprobe from dead twigs and an endophyte life-style from asymptomatic leaves of M. liliifera in Chiang Mai Province, Thailand. We report on the endophytic life-style of Lasiodiplodia pseudotheobromae from asymptomatic leaves and saprobic life-style from dead twigs from M. liliifera in Xishuangbanna, Yunnan Province, China. Further, we were able to identify Neopestalotiopsis saprophyta as endophytes from fresh leaves and as saprobes from dead leaves of M. lilifera in Yunnan, China. These findings suggest that the same species successfully occupy healthy plant tissues (leaves) as endophytes and later change their life-style to saprobes when plant tissues senescence. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Biodiversity of microfungi on some forest plants | en_US |
dc.title.alternative | ความหลากหลายทางชีวภาพของราขนาดเล็กในไม้ป่าบางชนิด | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Biodiversity | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Forest plants | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ฟังไจเป็นจุลินทรีย์ที่มีความหลากหลายสูงและเป็นกลุ่มที่มีหลายชนิด ฟังไจเป็น ส่วนประกอบสำคัญในระบบนิเวศส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มหลักของการหมุนเวียน ธาตุอาหารใน ธรรมชาติ และช่อยสลายลิกโนเซลดูโลสในเนื้อไม้และใบไม้ ในบริบทการจัดอนุกรมวิธานของฟังไจ การระบุรูปแบบการดำรงชีวิตดอย่างถูกต้องนั้นจะช่วยให้เข้าใจถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความสำคัญทาง สารอาหารและนิเวศวิทยาของฟังไจชนิดใดชนิดหนึ่ง การศึกษานี้ได้บันทึกและเสนอข้อมูลปัจจุบัน ของการนิยามการดำรงชีวิตของฟังไจในกลุ่มไบโอโทบ ฮีมิไบโอโทบ นี่โครโทบ ซาโพรบ และเอน โดไฟด์ ฟังไจเอนโดไฟด์เป็นการอยู่ร่วมกันในธรรมชาติในเนื้อเชื่อพืชที่มีชีวิต ระบบนิเวศที่เป็น ประ โซชน์กับพืชที่เป็นพืชอาศัย โดยการเพิ่มความทนทานต่อความแห้งแล้งและการเกิดโรค อีกทั้งยัง ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช การแยกเอน โคไฟด์ทำโดยการเพาะเลี้ยงโดยการใช้เทคนิคใน ห้องปฏิบัติการ การระบุชนิดของฟังไจเอน โคไฟด์โดยอาศัยลักษณะสัณฐานวิทยาของฟังไจที่สร้าง สปอร์บนอาหารสังเคราะห์ และข้อมูลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของลำดับดีเอนเอ ของยื่นหลายื่นร่วมกัน โดยการศึกษาครั้งนี้จะเนั้นอนุกรมวิธานของฟังไจชนิดใหม่จากพืชอาศัยใหม่ หรือจากพื้นที่ที่มีรายงานการพบฟังไจเอน โดไฟค์อาศัยร่วมกับ Magnolia ilifera ที่เก็บจากจังหวัดยู นาน สาธารณะรัฐประชาชนจีน และต้น M.gareti ที่เก็บจากจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย โดยต้น แมกโนเลีย (Magnolia spp.) มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ไม้ประดับในสวน เป็นไม้ ที่ปลูกในวัด ดอกใช้ในการตกแต่ง และยังใช้เป็นยาในสาธารณะรัฐประชาชนจีน จากการศึกษา สามารถแยกฟังไจเอน โดไฟค์ได้ 56 ไอโซเลทจากต้นแมกโนเดีย (Magnolia spp.) โดย 54 ไอโซเลทจัดอยู่ในกลุ่มแอส โคมายซีท (ascomycetes) และอีก 2 ไอโซเลท เป็นกลุ่มเบสิดิโอมายซีท(basidiomycetes) ฟังไจเอน โดไฟด์ทั้ง 56 ไอโซเลท ซึ่งระบุชนิดได้ 31 ชนิด ประกอบด้วย 8 ชนิดใหม่ และ 23 รายงานใหม่ในพืชอาศัย และหรือรายงานพื้นที่การกระจายตัวใหม่ ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า สมาชิกฟังไจเอนโดไฟด์ในชั้น Sordariomycctes เป็นกลุ่มหลักของพืช M. ilifera และ M. garetii ซึ่งพบจำนวนไอโซเลทสูงสุดถึง 82% รองลงมาคือชั้น Dothideomycetes จำนวน 14% และ ชั้น Agaricomycctes จำนวน 4% การตรวจสอบและการบันทึกเกี่ยวกับฟังใจขนาดเล็กจาก กิ่งที่ตายแล้วของพืชอาศัยต่างชนิด จากวงศ์ Annonaceae (Anomianthus dulcis, Cananga odorata, Desmos chinensis), วงศ์ Apocynaceae (Alstonia scholaris) และวงศ์ Magnoliaceae (M. champaca, M. garetti, M. lilifera) ในภาคเหนือของ ประเทศไทย และจังหวัดยูนาน ในสาธารณะรัฐประชาชนจีน นำเสนอคำบรรยายลักษณะ ภาพประกอบ และการอภิปรายเกี่ยวกับกรวางตำแหน่งของวงศ์โดยการอิงจากข้อมูลวิวัฒนาการและ สัณฐานวิทยา ในการศึกษานี้นำเสนอฟังไจสกุลใหม่ Murformipora ในวงศ์ Neohendersoniaccac (ชั้น Dothideomycetes) ได้นำเสนอฟังไจชนิดใหม่จำนวน 13 ชนิด ประกอบด้วย 6 ชนิดใหม่จากพืช แมกโนเลีย 4 ชนิดใหม่ จากพืช A.ducis และ 2 ชนิดใหม่จากพืช C. odorata อีกทั้ง 1 ชนิดใหม่จากพืช Alstonia ซึ่งได้รวมการพบระยะการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสกุล Hermatomyces บอกจากนี้ยังได้ รายงานฟังไจอีก 30 ชนิด ในพืชอาศัยใหม่จาก Magnolia sp., A. dulcis, C. odorata, D. chinensis และ Al. scholarisปฏิสัมพันธ์ระหว่างพืชกับฟังไจมีความหลากหลายสูงและซับซ้อน ฟังไจสามารถที่จะมีชีวิติ ได้หลายรูปแบบแตกต่างกันเมื่อเจริญในเนื้อเยื่อพืชในสถานะที่เป็นแซบโพรบ เอนโดไฟค์และเชื้อ สาเหตุโรค ในกรณีส่วนใหญ่ฟังไจเอน โดไฟด้สามารถจะเปลี่ยนรูปแบบการได้มาซึ่งสารอาหาร (จาก ราแซบโพรบเปลี่ยนไปเป็นปรสิตหรืออื่นๆ) และหรือรูปแบบการดำรงชีพ (ในดิน ในฟังไจอื่น ในวาก พืชและในพืชที่มีชีวิต นำเสนอฟังไจชนิดใหม่ Diaporthe chiangmaiensis แยกมาจากซากกิ่งไม้ซึ่ง เป็นฟังไจในสถานะแซบโพรบและในสถานะเอน โดไฟด์ที่แยกจากใบที่ ไม่เป็นโรคของ M. liliifera ในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย รายงานพบฟังไจ L. pseudotheobromae ที่มีรูปแบบการมีชีวิตเป็น เอนโดไฟด์จากใบที่ไม่มีอาการ โรคและแยกในซากกิ่งในสถานะแซบโพรบจากต้น M. liliifera ในสิบ สองปันนา จังหวัดยูนาน สาธารณะรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ยังสามารถระบุชนิดฟังไจ Neopestolotiopsis saproplyta ในสถานะเอนโคไฟค์จากใบสดและสถานะแซบโพรบจากใบที่ตาย แล้วของต้น M. liliifera ในยูนาน สาธารณะรัฐประชาชนจีน ซึ่งการค้นพบฟังไจทั้งสามชนิดเสนอแนะได้ว่าฟังไจชนิดเดียวกันสามารถอยู่ในเนื้อเยื่อพืชที่สมบูรณ์ (ใบ) เป็นเอนโดไฟด์ ภายหลัง จะเปลี่ยนรูปแบการดำรงชีวิตเป็นสถานะแซบโพรบเมื่อเนื้อเยื่อพืชแก่และตายไป. | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580551031 NIMALI INDEEWARI DE SILVA.pdf | 27.08 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.