Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78958
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Siramas Komonjinda | - |
dc.contributor.advisor | Supachai Awiphan | - |
dc.contributor.advisor | Waraporn Nuntiyakul | - |
dc.contributor.author | Ronnakrit Rattanamala | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-07T04:27:10Z | - |
dc.date.available | 2023-10-07T04:27:10Z | - |
dc.date.issued | 2023-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78958 | - |
dc.description.abstract | This research was aimed to searching for circumbinary planets on selected eclipsing binary system such as RR Cae, V619 Peg, V460 Cam, EC10246-2707, J082053.53+000843.4 and BQ Ari. The data obtained observation at the Thai National observatory, the PROMPT - 8 telescope at Cerro Tololo Inter-American Observatory, Chile, Thai Robotic Telescope at SpringBrook observatory, Australia, Regional Observatory for Public, Chachoengsao, Thailand, and Transiting Exoplanet Survey Satellite (TESS). The O − C diagram analyses of RR Cae show that the two period variation that might be exoplanet by the two circumbinary planets in RR Cae. The parameters of two circumbimary planets of P3 = 15.0±0.6 years, P4 = 39±5 years, M3 = 3.0±0.3MJup, M4 = 2.7±0.7MJup, a3 = 5.2 ± 0.1 AU and a4 = 9.7 ± 0.9 AU. The physical parameters from PHOEBE code of RR Cae such as M1 = 0.46 ± 0.12M⊙, M2 = 0.17 ± 0.07M⊙, R1 = 0.03R⊙ , R2 = 0.26R⊙, a = 1.63R⊙ and T2 = 2930K. Moreover, the spot on the secondary star has the variation between 2018 and 2020. The O − C diagram of V619 Peg are shown the period variation due to the third component that might be the M-type of star. The third component has P3 = 10.30 ± 0.14 years, M3 = 0.35 ± 0.02M⊙ and a3 = 6.5 ± 0.1 AU. The physical parameters of V619 Peg were M1 = 2.2 ± 0.1M⊙, M2 = 0.41 ± 0.02M⊙, R1 = 1.70+0.04R⊙, R2 = 0.85 ± 0.02R⊙, T2 = 6402+89 K, i = 82° and f = 0.56. For the spot on primary star were co-latitude = 97°, longitude = 183° , radius = 5° and temperature factor = 0.8. V470 Cam, The O − C diagram was shown the two period variation that can be illustrate the two circumbinary planets. The parameters of the two circumbinary planets were P3 = 8.3±0.2 years, P4 = 13.1±0.2 years, M3 = 0.026±0.001M⊙, M4 = 0.015± 0.001M⊙, a3 = 3.5 ± 0.5 AU, a4 = 4.7 ± 0.5 AU, e3 = 0.067 and e4 = 0.53. EC10246-2707, The O − C diagram of EC10246-2707 has the cyclic period due to the third component. That has the orbital period variation of 11.3 ± 1.8 years, the mass of 0.0012 ± 0.0007M⊙ and the projected semi-major axis of 4.2 ± 0.5 AU. It might be the circumbinary planet in this system. However, the must more data to the monitoring in the future for confirm this result. For J082053.53+000843.4, the O − C diagram has not present the period variation while the orbital period decreased at rate 3.89 ± 3.75 × 10−13 days per cycle. For BQ Ari, the O − C diagram was shown the cyclic variation due to the third component that might be the M-type of star. The orbital period variation was 7.54 ± 0.04 years, the third mass was 0.0948M⊙ and the projected semi-major axis was 3.96 AU. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Searching for Circumbinary planets on selected eclipsing binary systems | en_US |
dc.title.alternative | การค้นหาดาวเคราะห์ในระบบดาวคู่อุปราคาที่ถูกเลือก | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Planets | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Solar system | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Circumbinary | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะในระบบดาวคู่อุปราคาที่ถูกเลือก ได้แก่ RR Cae, V619 Peg, V460 Cam, EC10246-2707, J082053.53+000843.4 และ BQ Ari โดยข้อมูลในการวิเคราะห์ได้จากการสังเกตการณ์ ณ หอดูดาวแห่งชาติ ประเทศไทย หอดูดาว Cerro Tololo Inter-American ประเทศชิลี ภายใต้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ระยะไกลอัตโนมัติ หอดูดาว SpringBrook ประเทศออสเตรเลีย ภายใต้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ระยะไกลอัตโนมัติ, หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา ประเทศไทย และกล้องโทรทรรศน์อวกาศ TESS ผลของการวิเคราะห์จากแผนภาพ O−C ของระบบดาวคู่อุปราครา RR Cae พบมีการเปลี่ยนแปลงคาบ ซึ่งอาจเกิดจากการมีอยขู่องดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ 2 ดวงซึ่งมีค่า P3=15.0±0.6 ปี, P4=39±5 ปี, M3=3.0 ± 0.3MJup, M4=2.7±0.7MJup, a3 = 5.2±0.1AU และ a4 = 9.7±0.9 AU ขณะที่สมบัติทางกายภาพที่วิเคราะห์จากโปรแกรม PHOEBE พบว่า M1=0.46±0.12M⊙, M2=0.17±0.07M⊙, R1 = 0.03R⊙, R2 = 0.26R⊙, a = 1.63R⊙ and T2 = 2930 เคลวิน ยิ่งไปกว่านั้นจุดบนดาวทุติยภูมิมีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาปีค.ศ.2018 และ ค.ศ.2020 ระบบดาวคู่อุปราคา V619 Peg พบว่าแผนภาพ O-C มีการส่ายเป็นคาบที่เกิดจากวัตถุที่สาม ซึ่งอาจเป็นดาวฤษ์ชนิดสเปกตรัม M โดยมีค่า P3 = 10.30±0.14 ปี , M3 = 0.35±0.02M⊙ และ a3 = 6.5±0.1 AU และมีสมบตั ทางกายภาพ M1 = 2.2±0.1M⊙, M2 = 0.41±0.02M⊙, R1=1.70+0.04R⊙, R2=0.85±0.02R⊙, T2=6402 เคลวิน, i=82 องศา และ f=0.56โดยยังพบว่าสมบัติของจุดบนดาวปฐมภูมิ คือ co-latitude = 97องศา, longitude = 183 องศา, radius=5 องศา และ temperature factor=0.8 ระบบดาวคู่อุปราคา V470 Cam แผนภาพ O−C แสดงให้เห็นถึงการส่ายเป็นคาบซึ่งอธิบายจากการมีอยู่ของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ 2 ดวงโดยมีสมบัติ คือ P3=8.3±0.2ปี,P4=13.1±0.2 ปี,M3 = 0.026 ± 0.001M⊙,M4 = 0.015 ± 0.001M⊙,a3 = 3.5 ± 0.5 AU,a4 = 4.7 ± 0.5 AU,e3 =0.067 และ e4 = 0.53 และยืนยันจำนวนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ 2 ดวง สอดคลอ้งกบัการรายงานของ Sale และคณะ ระบบดาวคู่อุปราคา EC10246-2707 แผนภาพ O−C สามารถอธิบายดว้ยการส่ายเป็นคาบที่อาจเกิดจากวตัถุที่สามโดยมีคาบการส่าย 11.3±1.8 ปี มีมวล 0.0012±0.0007M⊙ และมีระยะห่าง 4.2±0.5 AUซึ่งมีความเป็นได้ว่าจะเป็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะอย่างไรกต็ามจำเป็นต้องมีการสังเกตการณ์เพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ ระบบดาวคู่อุปราคา J082053.53+000843.4 ไม่พบมีการส่ายเป็นคาบในแผนภาพ O − C แต่พบว่าแนวโน้มของแผนภาพ O−C มีลักษณะเป็นพาราโบลาคว่ำซึ่งเป็นลักษณะของการเปลี่ยนแปลงคาบที่ลดลงโดยมีอตัรา3.89(±3.75)×10−13 วันต่อรอบ ระบบดาวคู่อุปราคาBQ Ari พบว่าแผนภาพ O−C มีคาบการส่ายอย่างชัดเจนซึ่งอธิบายได้จาก การมีอยู่ของวตัถุที่สามซึ่งอาจเป็นดาวฤกษ์ชนิดสเปกตรัม M ที่มีคาบวงโคจร 7.54±0.04 ปี มีมวล 0.0948M⊙ และมีระยะห่าง 3.96 AU | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610551010_Ronnakrit_Rattanamala.pdf | 16.59 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.