Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAlice Sharp-
dc.contributor.authorWin Pa Pa Htunen_US
dc.date.accessioned2023-11-09T01:33:12Z-
dc.date.available2023-11-09T01:33:12Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79161-
dc.description.abstractFuel-burning to generate electricity contributes to Global Warming. The primary fuel sources for electricity production include coal, natural gas, oil, etc. These fuel sources release greenhouse gases (GHGs), including carbon dioxide (CO2), methane (CH4), and nitrous oxide (N2O), into the atmosphere through combustion. Myanmar's electricity production has increased to meet the country's demand, thus increasing the emission of GHGs. Nationally Determined Contributions (NDC) estimated the amount of GHGs for Myanmar's power production from 2021 to 2030 based on the National Electricity Master Plan (2014). Since then, few research publications have explored how much GHGs are emitted from using fossil fuels to generate electricity. Therefore, the study aims to calculate the GHG emissions produced by Myanmar's electricity generation with actual data. This research also proposes mitigation measures that will reduce the emission. This study focuses on thermal power plants connected to transmission lines. It estimates the total GHG emissions from fossil fuels such as sub bituminous coal, liquefied natural gas, and natural gas. The secondary data was collected from Myanmar's Ministry of Electric Power for eleven years (2012–2022). GHG emissions were estimated using the Tier 1 method of the IPCC 2006 Guidelines. The results indicate that the overall emissions varied throughout the years, reaching a peak of 1696.53 MtCO2e in 2019 and a lowest of 323.49 MtCO2e in 2016. The emissions from natural gas showed an ongoing increase throughout that period. However, the emissions from sub-bituminous coal have seen significant fluctuations. Based on the research findings, it is necessary to explore mitigation strategies, like using renewable energy sources, upgrading energy efficiency, and implementing carbon capture technology, as possible approaches to reducing greenhouse gas emissions produced by power generation processes in Myanmar.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGHG emissions, Myanmar’s Electricity generation, Fossil fuelsen_US
dc.titleEstimation of the greenhouse gases (GHGs) emission from Myanmar’s electricity generation industriesen_US
dc.title.alternativeการประเมินการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าในประเทศพม่าen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGreenhouse gases -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshElectric power production -- Burma-
thailis.controlvocab.thashFossil fuels-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้านั้นมีส่วนทำให้เกิดภาวะโลกร้อน โดยแหล่งเชื้อเพลิงหลักสำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน เป็นต้น แหล่งเชื้อเพลิงเหล่านี้จะปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) ซึ่งรวมถึงคาร์บอนไดออกไซด์ (C02) มีเทน (CH4) และไนตรัสออกไซด์ (N20) ออกสู่ชั้นบรรยากาศผ่านกระบวนการเผาไหม้ การผลิตไฟฟ้าของพม่าได้เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ ส่งผลให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้น โดยการมีส่วนร่วมที่ประเทศกำหนด หรือ Nationally Determined Contributions (NDC) ได้ประมาณการปริมาณก๊าซเรือนกระจกสำหรับการผลิตไฟฟ้าของประเทศพม่า ตั้งแต่ปี 2564 ถึง 2573 ตามแผนแม่บทการไฟฟ้าแห่งชาติ ปี 2557 ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา มีงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เพียงไม่กี่ฉบับที่ ได้สำรวจปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการผลิตกระแสไฟฟ้าของประเทศพม่าด้วยข้อมูลจริง นอกจากนั้นงานวิจัยนี้ยังได้มีการเสนอมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับการศึกษานี้ทางผู้วิจัยได้มุ่งเน้นไปที่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่เชื่อมต่อกับสายส่ง โดยจะประมาณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดจากเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหินซับบิทูมินัสก๊าซธรรมชาติเหลว และก๊าซธรรมชาติ ในส่วนของข้อมูลทุติยภูมิได้รวบรวมจากกระทรวงพลังงานไฟฟ้าของเมียนมาร์เป็นระยะเวลา 11 ปี (พ.ศ. 2555-2565) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะถูกประเมินโดยใช้วิธี Tier 1 ตามแนวทาง IPCC 2006 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการปล่อยก๊าซ โดยรวมมีความแตกต่างกันไปตลอดทั้งปี โดยแตะจุดสูงสุดที่ 1,696.53 MtCO2e ในปี 2562 และต่ำสุดที่ 323.49 MICO2e ในปี 2559 ซึ่งการปล่อยก๊าซธรรมชาติมีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากถ่านหินซับบิทูมินัสมีความผันผวนอย่างมาก จากผลการวิจัยมีความจำเป็นที่จะต้องสำรวจกลยุทธ์ในการลดผลกระทบ เช่น การใช้แหล่งพลังงานหมุนเวียน การยกระดับประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน และการนำเทคโนโลยีดักจับคาร์บอนมาใช้ ซึ่งเป็นแนวทางที่เป็นไปได้ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกระบวนการผลิตไฟฟ้าในประเทศพม่าen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640535809-WIN PA PA HTUN.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.