Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thanasak Mouktonglang | - |
dc.contributor.advisor | Thaned Rojsiraphisal | - |
dc.contributor.advisor | Kanyuta Poochinapan | - |
dc.contributor.author | Wipawinee Chaiwino | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-20T00:49:19Z | - |
dc.date.available | 2023-11-20T00:49:19Z | - |
dc.date.issued | 2023-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79209 | - |
dc.description.abstract | This study aims to enhance the heuristic optimization algorithms, specifically the particle swarm optimization (PSO) and genetic algorithm (GA), to solve complex problems, namely the helicopter routing problem for inspecting high-voltage transmission lines of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) for maximum cost savings and identifying atmospheric pollution point sources. The first problem is the multi-depot vehicle routing problem (MDVRP), which involves additional special conditions such as avoiding backlit flights, fuel limitations, and helipad conditions. The study proposes an adaptive GA by enhancing the creation of the initial population, fitness function, and crossover operation, resulting in significant improvements in computational efficiency and generating outstanding results compared to the IBM CPLEX Optimizer. The enhanced GA is tested on 12 different problems and applied to the EGAT problem, providing effective results with low computational costs. The second problem seeks to improve the PSO algorithm by combining a multidimensional search with a line search and GA to detect air pollution point sources. The innovation, called HPSO, uses theoretically expected concentration from approximating the numerical solution of some governing PDE system to achieve better measurement results. HPSO outperforms PSO and GA in detecting air pollution point sources. In conclusion, The proposed adaptive GA and HPSO algorithms offer promising results with low computational costs, providing a valuable tool for solving similar problems. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Enhancement of heuristic optimization algorithms based on evolutionary computational methods and applications | en_US |
dc.title.alternative | การปรับปรุงขั้นตอนวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดแบบฮิวริสติกที่มีวิธีวิวัฒนาการเชิงคณนาเป็นฐานและการประยุกต์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Genetic algorithms | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Combinatorial optimization | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Vehicle routing problem | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Combinatorial analysis | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะที่สุดแบบฮิวริสติก โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค (PSO) และขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม (GA) เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนสองปัญหาได้แก่ ปัญหาการจัดเส้นทางเฮลิคอปเตอร์สำหรับตรวจสอบสายส่งไฟฟ้าแรงสูงของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อการประหยัดต้นทุนสูงสุด และ ปัญหาการระบุจุดกำเนิดมลพิษในชั้นบรรยากาศ ซึ่งปัญหาแรกคือปัญหาการกำหนดเส้นทางยานพาหนะหลายจุด (MDVRP) ที่เกี่ยวข้องกับเงื่อนไขพิเศษเพิ่มเติม เช่น การหลีกเลี่ยงเที่ยวบินย้อนแสง การจำกัดเชื้อเพลิง และการลงจอดเฉพาะลานจอดเฮลิคอปเตอร์ท การศึกษานี้เสนอขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม ที่ปรับปรุงการสร้างประชากรเริ่มต้น ฟังก์ชันฟิตเนส และการดำเนินการแบบไขว้ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการคำนวณดีขึ้นอย่างมาก และสร้างผลลัพธ์ที่โดดเด่นเมื่อเทียบกับ IBM CPLEX Optimizer และ ขั้นตอนวิธีอาณานิคมมด (ACO) ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมที่ปรับปรุงแล้วได้รับการทดสอบใน 12 ปัญหาที่แตกต่างกันและนำไปใช้กับปัญหาของ กฟผ. ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพด้วยเวลาคำนวณที่ต่ำ ปัญหาที่สองคือการปรับปรุงขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค โดยการรวมการค้นหาหลายมิติ เข้ากับขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมเพื่อตรวจหาแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ นวัตกรรมที่เรียกว่าขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคแบบผสม (HPSO) ใช้ความเข้มข้นที่ในทางทฤษฎีจากการประมาณผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์การวัดที่ดีขึ้น วิธีการหาคำตอบแบบกลุ่มอนุภาคผสมนี้มีประสิทธิภาพเหนือกว่าขั้นตอนวิธีแบบกลุ่มอนุภาคและขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมในการตรวจจับแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ โดยสรุปแล้ว การปรับปรุงขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมและขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคแบบผสมได้นำเสนอผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจด้วยเวลาการคำนวณที่ต่ำ และเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์สำหรับการแก้ปัญหาที่คล้ายกันได้ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620551003-WIPAWINEE CHAIWINO.pdf | 7.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.