Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79290
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Traiger, Cheryl | - |
dc.contributor.author | Duanghathai Julanithi | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-11T17:22:28Z | - |
dc.date.available | 2023-12-11T17:22:28Z | - |
dc.date.issued | 2018-09-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79290 | - |
dc.description.abstract | Culture often controls how viewers see and interpret photographs, defining ways that have been agreed upon by members of that society. As a photograph often contains culturally-specific elements such as people, places or ceremonies primarily belonging to one culture, people from the same culture typically understand photographs which have content related to their own cultural background (Peesapati et al. 1). Conversely, they may understand photographs presented with content from other cultural backgrounds differently. Therefore, understanding cultural differences is important because different interpretations can lead to problems and create stereotyping in cross-cultural communication when people are from various cultures and do not share the same beliefs, ideas or expectations. This study investigates the different interpretations of Buddhist monks in stock photos. Data was collected from a total of fifty images found through keyword searches using two different languages: English and Thai. The analysis explores stereotypes reflected in these photographs of monks. This study focused on photographs of monks, and monks play an important role in the cultures of both Thailand and Buddhism. In Thai culture any misunderstandings or misconceptions about monks are considered to be controversial and sensitive. In order to understand the different possible meanings of the photographs, semiotic analysis and Multimodality under the theory of Kress and van Leeuwen were used in the study. The results showed that 'monk' and 'Pra-song' have different cultural meanings. Buddhist Monks in Western society are stereotyped as strange or unusual. They are shown as "Other", being depicted through the photographs using long distance shots, the 'offer gaze', an oblique view and by cropping the images to show only parts of their bodies. These disconnect English speaking viewers from the monks. In contrast, Pra- song in Thai culture are considered as "one of us" who always belong to Thai society. As Pra-song play an important role in the spiritual life of Thai people the people feel psychologically connected to monks. As a result, this constructs the meaning and concept of monk as a person who is a member of Thai society. Therefore, it can be said that these monk photographs show the different power of monk in the different cultures. Specifically, the 'monk' is viewed as powerless in an English speaking culture while they are respected in the Thai culture. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Semiotic analysis of stock photographs of monks | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์รูปภาพพระโดยใช้ทฤษฎีสัญญศาสตร์ | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.lcsh | Visual communication | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Semiotics -- Analysis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Buddhist monks | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Buddhist priests | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Attitude (Psychology) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Photographs | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อิทธิพลของวัฒนธรรมส่งผลทำให้มนุษย์มองรูปภาพและดีความรูปภาพนั้นตามบริบทของ สังคมที่ตนอาศัยอยู่ เนื่องจากรูปภาพแต่ละภาพจะประกอบไปด้วยเรื่องราวและองค์ประกอบ เช่น ผู้คน สถานที่ หรือพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งสั่งเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมใควัฒนธรรมหนึ่ง บุคคลที่ อยู่ในวัฒนธรรมเดียวกับรูปภาพนั้นย่อมเข้าใจความหมายของรูปภาพนั้น ในทางตรงกันข้ามบุคคลใด ที่มากจากต่างวัฒนธรรมย่อมเข้าใจรูปภาพนั้นต่างออกไป ดังนั้นการเข้าใจความหลากหลายของ วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่สำคัญในสังคมปัจจุบันเนื่องจากความเข้าใจที่แตกต่างอาจนำไปสู่ปัญหา ความ ขัดแย้งและการสร้างทัศนคติผิดๆในสังคมที่มีความหลากหลายทางด้านภาษา วัฒนธรรมและ ผู้คน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ เปรียบเทียบและศึกษาถึงทัศนคติที่แฝงอยู่ใน รูปภาพพระสงฆ์ที่ปรากฏในเว็บขายภาพออนไลน์ เนื่องจากพระสงฆ์มีบทบาทที่สำคัญทั้งใน สังคมไทยและพุทธศาสนา ความเข้าใจหรือทัศนคติเกี่ยวกับพระสงฆ์ที่ผิดในวัฒนธรรมไทยนั้นถือ เป็นเรื่องที่ถกเถียงกันและละเอียดอ่อน ดังนั้นข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้จึงเจาะจงไปที่ภาพพระจำนวน 50 ภาพจากคำค้นหาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รูปภาพที่เลือกจะถูกนำมาวิเคราะห์หาทัศนคดิที่แฝง อยู่ในรูปภาพโดยกรอบทฤษฎีสัญญาศาสตร์และการอ่านภาพถ่าย ผลการวิเคราะห์ชี้ให้เห็นว่า "พระ" หรือ "พระสงฆ์" มีความหมายที่ต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม ชาวตะวันตกมองว่า "พระ" คือ บุคคลแปลกหน้าหรือบุคคลอื่นในสังคมตะวันตก ชาวตะวันตกนิยม เลือกรูปภาพพระถูกนำเสนอด้วยภาพระยะไกล ภาพมุมเฉียงและภาพแบบเชิญชวน ซึ่งภาพเหล่านี้ ล้วนสื่อความหมายว่า "พวกเขา" หรือ "คนอื่น" และยังสื่อความหมายได้อีกว่า คนที่อยู่ในภาพอยู่อย่าง โดดเคี่ยวโดยที่ผู้ดูไม่สามารถเข้าถึงได้ ในทางกลับกันนั้นชาวไทยมองว่า "พระสงมั" เป็นส่วนหนึ่ง ในสังคม หรือ "พวกเรา" เนื่องจากพระสงฆ์เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณในสังคมไทย จึงทำให้คน ไทยรู้สึกผูกพันกับพระสงฆ์ จนทำให้เกิดทัศนคติหรือความรู้สึกว่า พระสงฆ์เปีนส่วนหนึ่งของ สังคมไทย กล่าวได้ว่ารูปภาพพระ สื่อถึงความแดกต่างทางด้านอำนาจในสังคมของพระ ในสังคม ตะวันตก พระถูกมองเป็นผู้ไร้อำนาจแต่กลับได้รับความเคารพนับถือในสังคมไทย | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580132037-ดวงหทัย จุลนิธิ.pdf | 8.34 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.