Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79484
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วราวรรณ อุดมความสุข | - |
dc.contributor.advisor | มยุลี สำราญญาติ | - |
dc.contributor.author | รุจิรา คำบุญเรือง | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-05-30T09:31:46Z | - |
dc.date.available | 2024-05-30T09:31:46Z | - |
dc.date.issued | 2024-01-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79484 | - |
dc.description.abstract | Delirium is a neurogenic disorder which causes cognitive impairment and abnormal emotions in critically ill patients. It also affects these patients by prolonging hospital treatment and decreasing quality of life. The purpose of this descriptive correlational research was to examine the factors related to knowledge, attitudes, and practice for delirium management of critically ill patients according to Bloom's framework (Bloom, 1956). Data were collected on 260 critical care nurses who worked at provincial government hospitals and regional hospitals in the upper northern region of Thailand. Research instruments consisted of 1) a demographic data form; 2) a nurse’s knowledge questionnaire regarding delirium in critically ill patients; 3) a nurse’s attitudes questionnaire regarding delirium in critically ill patients; and 4) a nurse’s practices questionnaire regarding delirium in critically ill patients. Three questionnaires had a content validity index of 0.80, 0.65, and 1.00. Descriptive statistics and the Spearman’s rank correlation coefficient were used for data analysis. The results showed that the majority of participants’ knowledge (77.30%) and attitudes (60.00%) regarding delirium in critically ill patients were at a good level. The majority of participants’ practice (50.40%) regarding delirium in critically ill patients were at a bad level. There was no correlation between participants’ knowledge and their practice. Participants’ attitudes had less significantly, and positively associated with practice (r = .270, p < .01). The results from this research were consistent with Bloom's theory, that attitudes are related to practice. However, in terms of knowledge it was found that, it has no relationship with practice. These results can be used as basic knowledge for improving and developing nursing practice regarding delirium management among critically ill patients. In addition, other factors that affect nurses' practices in managing delirium in critically ill patients should be studied. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของพยาบาลเพื่อจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
dc.title.alternative | Nurses' knowledge, attitudes, and practices for delirium management in critically Ill patients | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | พยาบาลกับผู้ป่วย | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย | - |
thailis.controlvocab.thash | การพยาบาล | - |
thailis.controlvocab.thash | อาการเพ้อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาวะสับสนเฉียบพลัน เป็นความผิดปกติของระบบประสาท ทำให้มีความพร่องทางการรู้คิดและอารมณ์ที่ผิดปกติในผู้ป่วยวิกฤต ส่งผลให้การรักษาของผู้ป่วยวิกฤตในโรงพยาบาลยาวนานขึ้น และคุณภาพชีวิตลดลง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของพยาบาล ได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของพยาบาลเพื่อจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต ตามกรอบแนวคิดของบลูม (Bloom, 1956) ในพยาบาลวิกฤตที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐบาลระดับจังหวัดและโรงพยาบาลศูนย์ ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย จำนวน 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามความรู้ของพยาบาลเกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต 3) แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลเกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต และ 4) แบบสอบถามการปฏิบัติของพยาบาลเกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต แบบสอบถามมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 0.80, 0.65 และ 1.00 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ (ร้อยละ 77.30) และทัศนคติ (ร้อยละ 60.00) เกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตอยู่ในระดับดี ด้านการปฏิบัติ (ร้อยละ 50.40) มีคะแนนระดับไม่ดี ในด้านของความสัมพันธ์ พบว่า ความรู้ของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต ส่วนทัศนคติเกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .270, p <.01) ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า มีความสอดคล้องกับทฤษฎีของบลูมในด้านทัศนคติที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตามความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติ ผลการวิจัยที่ได้เป็นความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต อีกทั้งควรศึกษาถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อการปฏิบัติของพยาบาลในการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
รุจิรา คำบุญเรือง 611231062.pdf | 4.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.