Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79853
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นัทมน คงเจริญ | - |
dc.contributor.author | ธัญวิทย์ คุณสมบัติ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-24T00:44:00Z | - |
dc.date.available | 2024-07-24T00:44:00Z | - |
dc.date.issued | 2024-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79853 | - |
dc.description.abstract | Restructuring local personnel administration in the civil servants tries to resolve the problems of domination by central and provincial civil administration through the committee's structure and dominated procedure, according to the Local Personnel Administration Act B.E. 2542 (1999). There have been problems concerning the personnel management of local government organizations since the Thai government established local government administration. There is a continuing effort to solve these problems, but there are still problems. There are problems with unclear scope of duties and responsibilities, problems with recruitment and selection of personnel, problems covered by centralized personnel management, and problems in evaluation and career path of the local personnel administration. These issues remain, and we are trying to find a better solution. The challenges in solving the human resource management problems of local government organizations in Thailand have always existed. The study aims to find approaches from a comparative study of local personnel management law from other countries where the central government provides primary authority to local administration on personnel management by stipulating specific personnel management criteria in the law or may empower managing the personnel of local government organizations in the law. The author wants to study and compare the countries in which the personnel management of local government organizations through the enactment of laws. Local government organizations must implement regulations related to critical personnel management or set broad criteria for personnel management independently. Hence, this study selected studies of local government organizations, including those in France and Japan, which conduct competent and sufficient local government organizations. This study suggests a restructuring of the law on personnel management of local government organizations that emphasizes the independence and management authority of personnel directly from these organizations. This law would give the local government organizations the power to select, develop, and evaluate their personnel in a way that serves local development and the community's needs. The amendment of Local Personnel Administration Act B.E. 2542 (1999) would enable true decentralization of power to localities, allowing civil servants to play a full and direct role in the management of local government personnel. This independence would employ a more effective and responsive local government system. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.title.alternative | Problems concerning personnel management of Local Administrative Authorities | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารงานบุคคล | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานบุคคล | - |
thailis.controlvocab.thash | เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | - |
thailis.controlvocab.thash | กฎหมายแรงงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การจัดโครงสร้างของการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นในส่วนข้าราชการผู้ปฏิบัติงาน ปัจจุบันถูกข้าราชการส่วนกลางและข้าราชการส่วนภูมิภาคครอบงำด้วยโครงสร้างของคณะกรรมการ รวมไปถึงการควบคุมกำกับ ตามพระราชบัญญัติการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 จากปัญหาของการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย มีความพยายามแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงปรากฎปัญหาในประเด็นเหล่านี้อยู่เสมอมา ได้แก่ ปัญหาของความไม่ชัดเจนในขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ปัญหาเกี่ยวกับการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ปัญหาในการบริหารทรัยพากรบุคคลแบบรวมศูนย์ รวมถึงปัญหาในการประเมินผล โอกาสในการพัฒนาและความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การจัดการผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ยังคงไม่สามารถปรับแก้ไขให้เกิดประสิทธิผลได้ จากข้อท้าทายในการแก้ปัญหาการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยที่มีมาโดยตลอด การหาแนวทางจากการศึกษากฎหมายการบริหารงานบุคคลในท้องถิ่นเชิงเปรียบเทียบ จากบางประเทศ ที่พิจารณาถึงการที่รัฐบาลส่วนกลางเข้ามาเกี่ยวข้องกับการบริหารบุคคลโดยการกำหนดหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลไว้ในกฎหมาย หรืออาจให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐส่วนกลางในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ให้อิสระไว้ในกฎหมาย โดยในงานศึกษาชิ้นนี้ ผู้เขียนต้องการศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มประเทศที่รัฐบาลส่วนกลางรักษาระยะห่างในการเข้ามามีส่วนสัมพันธ์ กำกับดูแล รวมถึงให้อิสระในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น โดยการเปรียบเทียบกับกฎหมายของไทย ศึกษาวิเคราะห์ผ่านกลไกของกฎหมายในการบริหารงานบุคคล การใช้อำนาจปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติ หรือการกำหนดหลักเกณฑ์การบริหารบุคคลอย่างกว้าง ที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดรายละเอียดในการปฏิบัติเอง ข้อเสนอจากการศึกษานี้ คือการออกแบบโครงสร้างของกฎหมายว่าด้วยการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เน้นความเป็นอิสระและอำนาจในการจัดการของบุคลากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยตรง อำนาจในการคัดเลือก โอกาสในการพัฒนาและประเมินผลของบุคลากรที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาท้องถิ่นและความต้องการของชุมชน การปรับปรุงกฎหมายพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 เพื่อให้สามารถกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง การให้ข้าราชการดังกล่าวเข้ามามีบทบาทในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นอย่างเต็มที่และโดยตรง | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
622032007-ธัญวิทย์ คุณสมบัติ.pdf | 2.62 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.