Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.advisorพิมพ์เดือน รังสิยากูล-
dc.contributor.authorสุภัทชา ปาคำมาen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T07:14:01Z-
dc.date.available2024-07-28T07:14:01Z-
dc.date.issued2567-04-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79893-
dc.description.abstractThe purposes of the research were to regard the effects of anodization on shear bond strength of titanium and self-adhesive resin cements and the roughness of titanium surface. A total of 84 titanium pieces were polished with 100, 400, and 600 grit water sandpaper sequentially using a polishing machine at a speed of 200 revolutions per minute for 1 minute under cooling with water. The test pieces were divided into two groups: a control group with no anodization reaction (42 pieces) and a test group with anodization reaction (42 pieces). All test pieces were subjected to hardness testing, and two pieces from the control group and the test group were observed with an electron microscope. The remaining test pieces from the control and test groups were further divided into four groups (n=10). These groups were used to bond with four types of self-adhesive resin cements, Maxcem Elite, PanaviaTM SA Luting Multi, Rely XTM U200, and seT PP SDI. Subsequently, the test pieces were stored in distilled water at 37 degrees Celsius for 24 hours. Shear bond strength values were determined using a universal testing machine with a crosshead speed of 0.5 millimeters per minute. Data were analyzed using two-way ANOVA analysis of variance and compared the hardness before and after anodization using the t-test. The experiment concluded that anodization significantly increased the roughness of titanium, which was associated with the observation of an oxide layer that interconnected and covered the entire titanium surface. Furthermore, anodization improved the bonding between different types of self-adhesive resin cements significantly, with PanaviaTM SA Luting Multi providing the highest tensile strength value.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอโนไดซ์ไทเทเนียมen_US
dc.subjectอโนไดซ์เซชั่นen_US
dc.subjectไทเทเนียมen_US
dc.subjectเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์en_US
dc.titleความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างแผ่นไทเทเนียมที่ไม่ผ่านการอโนไดซ์เซชั่นและผ่านการอโนไดซ์เซชั่นกับเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์ชนิดต่าง ๆen_US
dc.title.alternativeShear bond strength between non-anodized Titanium plate and anodized titanium plate with various types of self-adhesive resin cementsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทเทเนียม-
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashสารยึดติดทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashสารยึดติด-
thailis.controlvocab.thashการยึดติดทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashซีเมนต์ทางทันตกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการอโนไดซ์เซชั่นต่อค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างไทเทเนียมกับเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์ และผลต่อความขรุขระของพื้นผิวไทเทเนียม โดยนำไทเทเนียมจำนวน 80 ชิ้น มาขัดด้วยกระดาษทรายน้ำเบอร์ 100 400 และ 600 ตามลำดับ ด้วยเครื่องขัดชิ้นงานความเร็ว 200 รอบต่อนาที เป็นเวลา 1 นาที ภายใต้การหล่อเย็นด้วยน้ำ นำแผ่นไทเทเนียมที่ผ่านการขัดผิวชิ้นงานมาวัดความขรุขระด้วยเครื่องทดสอบความขรุขระ แบ่งไทเทเนียมออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มไม่ทำปฏิกิริยาอโนไดซ์เซชั่น จำนวน 40 ชิ้น กลุ่มทำปฏิกิริยาอโนไดซ์เซชั่น จำนวน 40 ชิ้น นำไทเทเนียมกลุ่มไม่ทำปฏิกิริยาอโนไดซ์เซชั่น 2 ชิ้น และกลุ่มทำปฏิกิริยาอโนไดซ์เซชั่น 2 ชิ้น ไปส่องด้วยกล้องอิเล็กตรอนแบบส่องกราดโดยแต่ละกลุ่มจะแบ่งเป็นกลุ่ม 4 กลุ่มทดลองย่อย กลุ่มละ 10 ชิ้น (n = 10) นำชิ้นงานยึดติดกับเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์ 4 ชนิด ได้แก่ แม็กเซ็มอีลิต พานาเวียเอสเอลูตติ้งมัลติ รีไลเอ็กซ์ยูสองร้อย เซ็ตพีพีเอสดีไอ หลังจากนั้นนำชิ้นงานตัวอย่างแช่ในน้ำกลั่นและนำเข้าตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ทดสอบหาค่าความแข็งแรงยึดเฉือนด้วยเครื่องทดสอบแรงดึงแรงกดระบบไฮดรอริก ที่ความเร็วหัวกด 0.5 มิลลิเมตรต่อนาที วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความแปรปรวนแบบสองทาง และเปรียบเทียบความขรุขระก่อนและหลังอโนไดซ์เซชั่นด้วยสถิติทีเทส จากการทดลองสรุปว่า การอโนไดซ์เซชั่นทำให้ไทเทเนียมมีค่าความขรุขระมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสัมพันธ์กับภาพที่พบว่าเกิดชั้นฟิล์มออกไซด์ที่มีลักษณะเป็นก้อนที่เชื่อมติดกันปกคลุมทั่วพื้นผิวไทเทเนียม นอกจากนี้การอโนไดซ์เซชั่นทำให้เกิดการยึดติดระหว่างเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์ชนิดต่าง ๆ ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่า พานาเวียเอสเอลูตติ้งมัลติให้ค่าความแข็งแรงยึดเฉือนที่มากที่สุดen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640931029-สุภัทชา ปาคำมา.pdf9.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.