Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79932
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Papimon Chompu-inwai | - |
dc.contributor.author | Inruja Ngamthuam | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-04T04:39:30Z | - |
dc.date.available | 2024-08-04T04:39:30Z | - |
dc.date.issued | 2023-02-24 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79932 | - |
dc.description.abstract | Background: Coronal pulpotomy (CP) treatment has recently been used as an alternative to root canal treatment (RCT) for deep carious lesion in young permanent teeth with the aim of preserving tooth viability. There are currently limited longitudinal studies related to the treatment outcome and prognostic factors of this treatment. Objectives: To examine survival probabilities and identify prognostic factors that may influence treatment outcome of young permanent first molars that have undergone CP treatment of children aged between 6 and 18 years. Materials and methods: This retrospective cohort study included first permanent molars that were treated with CP treatment in patients aged 6 to 18 at the Pediatric Dentistry Clinic. Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. All teeth were evaluated for at least 6 months after treatment. The outcome was considered on two definitions (focused on success and focused on functional survival). Survival analysis was used to analyze the survival function of the CP-treated teeth and their prognostic factors. Results: A total of 73 CP-treated teeth from 67 patients were included in this study with follow-up period range from 6 to 98 months. When the CP outcome focusing on success, the survival probabilities of CP-treated teeth declined by approximately 10% annually in the first two years (92.6% and 81.5% respectively), and steadily declined in the third, fourth, and fifth years (78.5%, 75%, and 71%, respectively), before re remaining stable in the sixth to eighth years at 66%. However, when the CP outcome focusing on functional survival. the survival probability of CP-treated teeth decreased slightly from 100% to 96.3% in the second years and remained constant until the end of the study at 98 months. In univariable analysis, the older age group (12-14 years) showed a significantly higher probability of CP treatment failure compared to the younger age groups (6-11 years) with a hazard ratio of 3.41 (95% CI: 1.08-10.73; p = 0.04). Movever, the mandibular first permanent molars had significantly lower probability of treatment failure than the maxillary first permanent molars with a hazard ratio of 0.33 (95% CI: 0.12-0.93; p = 0.04). However, multivariable analysis revealed that none of the prognostic factors had a significant association with the survival of CP-treated teeth. Conclusion: Based on the result of this study, it is feasible to infer that coronal pulpotomy can be used to treat deep carious lesion with vital pulp status in permanent first molars of children aged 6 to 18. with a high probability of long-term survival. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Survival of permanent first molars that have undergone coronal pulpotomy treatment of children aged between 6 and 18 years | en_US |
dc.title.alternative | การรอดชีวิตของฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่รักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟันของผู้ป่วยเด็กอายุระหว่าง 6 ถึง 18 ปี | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Molars | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Endodontics | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Root canal therapy | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Dentistry | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | บทนำ: การรักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟันถูกนำมาใช้เป็นทางเลือกแทนการรักษา คลองรากฟันสำหรับรอยโรคฟันผุลึกในฟันถาวรอายุน้อย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความมีชีวิต ของฟัน ซึ่งปัจจุบันมีการศึกษาระยะยาวถึงผลการรักษาและปัจจัยพยากรณ์ของการรักษานี้ค่อนข้าง จำกัด วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจสอบโอกาสการรอดชีพและระบุปัจจัยพยากรณ์ซึ่งอาจส่งผลต่ลต่อการ รักษาของฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งที่ผ่านการรักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟันในในเด็กอายุ ระหว่าง 6 ถึง 18 ปี วิธีการวิจัย: การศึกษาตามรุ่นย้อนหลังนี้ครอบคลุมฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งที่ได้รับการรักษาด้วย วิธีการตัดเนื้อเชื่อในส่วนตัวฟัน ในผู้ป่วยอายุระหว่าง 6 ถึง 18 ปี ที่คลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก คณะ ทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยฟันทุกซี่จะได้รับการประเมินผลหลังการรักษาอย่างน้อย 6 เดือน โดยผลการศึกษาจะถูกพิจารณาภายใต้ 2 คำจำกัดความ (เน้นความสำเร็จ และ เน้นความอยู่ รอดในการใช้งาน) การวิเคราะห์การรอดชีพถูกใช้ในการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นของการรอดชีพเเละปัจจัย พยากรณ์ของฟันที่รักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟัน ผลการวิจัย: การศึกษานี้ประกอบด้วยฟันที่รักษาโดยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟันทั้งหมด 73 ซี่ จากผู้ป่วย 67 ราย โดยมีระยะเวลาการติดตามผลระหว่าง 6 ถึง 98 เดือน เมื่อทำการวิเคราะห์โดยเน้น ความสำเร็จ พบว่าความน่าจะเป็นในการรอดชีวิตของฟันที่รักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟัน ลดลงประมาณน้อยละ 10 ต่อปีในช่วงสองปีแรก (ร้อยละ 92.6 และ ร้อยละ 81.5 ตามลำคับ) และลดลง อย่างต่อเนื่องในปีที่สาม สี่ และห้า (ร้อยละ 78.5, ร้อยละ 75,ร้อยละ 71 ตามลำดับ) ก่อนที่จะคงที่ในปี ที่ 6 ถึง 8 ที่ร้อยละ 66 อย่างไรก็ตาม เมื่อทำการวิเคราะห์โดยเน้นความอยู่รอดในการใช้งาน ความ น่าจะเป็นในการรอดชีวิตของฟันที่รักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟันลดลงเพียงเล็กน้อย จาก ร้อยละ 100 เป็นร้อยละ 96.3 ในปีที่ 2 และคงที่จนกระทั่งสิ้นสุดระยะเวลาการศึกษาที่ 98 เดือน ในการ วิเคราะห์แบบตัวแปรเดียว พบว่ากลุ่มอายุที่มากกว่า (12-14 ปี) มีโอกาสสูงกว่าที่จะเกิดความล้มเหลว ในฟันที่รักษาด้วยวิธีการตัดเนื้อเชื่อในส่วนตัวฟัน เมื่อเปรียบเทือบกับกลุ่มผู้ป่วยอายน้อยกว่า (6-11 ปี) โดยมีอัตราส่วนความเสี่ยงอันตรายที่ 3.41 เท่า (95% CI: 1.08-10.73; p = 0.04) นอกจากนั้น ฟันกราม ล่างถาวรซี่ที่หนึ่งมีความน่าจะเป็นที่จะเกิดความล้มเหลวในการรักษาต่ำกว่าฟันกรามบนถาวรซี่ที่ที่หนึ่ง ที่อัตราส่วนความเสี่ยงอันตราย 0.33 เท่า (95 % CI:0.12-0.93:p = 0.04) อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ แบบพหุตัวแปรไม่พบว่ามีปัจจัยพยากรณ์ไดที่มีความสัมพันธ์กับการรอดชีวิตของฟันที่รักษาด้วย วิธีการตัดเนื้อเยื่อในส่วนตัวฟัน บทสรุป: จากผลของการศึกษานี้ มีความเป็นไปได้ที่จะอนุมานว่าการรักษาด้วยการตัดเนื้อเยื่อ ในส่วนตัวฟันสามารถใช้รักษารอยโรคฟันผุลึกที่ยังคงสถานะความมีชีวิตของโพรงประสาทฟันในใน ฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งของเด็กอายุ 6 ถึง 18 ปี โดยมีความเป็นไปได้สูงที่จะรอดชีวิตในระยะยาว | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630931035-อิณรุจา งามท้วม.pdf | 7.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.